โรคราสีชมพู
เชื้อสาเหตุ : Corticium salmonicolor
โรคราสีชมพูพบได้ทั้งในช่วงฤดูฝนหรือเพิ่งหมดฝนใหม่ๆ ซึ่งเชื้อสาเหตุจะเจริญได้ในสภาพอากาศชื้น ละอองฝนและลมจะเป็นปัจจัยช่วยให้สปอร์แพร่กระจายไป สภาพความชื้นในอากาศช่วยทำให้เชื้อราเจริญเติบโต สร้างสปอร์ แพร่กระจาย และอาศัยในต้นพืชได้ดี โรคนี้สามารถคงอยู่ข้ามฤดูกาลได้โดยเส้นใยที่พักตัวภายใต้เปลือกและเนื้อเยื่อที่มีเปลือกแข็งแห้ง เนื่องจากการกระตุ้นของโรค ทำให้กลายเป็นแหล่งเริ่มต้นแพ
ลักษณะอาการ
เชื้อราเข้าทําลายกิ่งโดยเฉพาะบริเวณง่ามกิ่ง ซึ่งมีผลทําให้ใบมีสีเหลืองร่วงหล่น คล้ายกับอาการกิ่งแห้งและใบร่วงที่เกิดจากโรคโคนเน่า แต่จะสังเกตเห็นเส้นใยของเชื้อรามีลักษณะเป็นขุยสีชมพูปกคลุมบริเวณโคนกิ่ง และทําให้เปลือกของกิ่งทุเรียนปริแตกและล่อนจากเนื้อไม้ เมื่อถากเปลือกจะพบว่าเนื้อไม้ภายในมีสีนํ้าตาลถ้าเกิดรอบกิ่งจะทําให้กิ่งทุเรียนแห้งตายในที่สุด
ที่มา : กลุ่มวิจัยโรคพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร
การป้องกันรักษา
1. คิวแม็กซ์ คอปเตอร์ + คิวฟาเนท
พืชแข็งแรง ต้านทาน ยับยั้ง ราสีชมพู
คำแนะนำการใช้ : ฉีดพ่นทางใบ เมื่อพบเห็นการระบาด ฉีดพ่น 2 ครั้ง ห่างกัน 5-7 วัน
อัตราการใช้ : อัตราแนะนำต่อน้ำ 20 ลิตร
- คิวแม็กซ์ คอปเตอร์ 20 ซีซี.
- คิวฟาเนท 20 ซีซี.
พืชแข็งแรง ต้านทาน ยับยั้ง ราสีชมพู
คำแนะนำการใช้ : ราดทางดิน อัตรา 100-150 ซีซี. ต่อต้น
คุณภาพ เหนือราคา